คุณภาพอากาศและกระทรวงสาธารณสุขในประเทศไทยมีความตระหนักอย่างมากในการควบคุมการปล่อยมลพิษทางอากาศอย่างเข้มงวด เนื่องจากมลพิษทางอากาศที่เพิ่มสูงขึ้นในประเทศ ดังนั้นประเทศไทยจึงได้ประกาศเพิ่มความเข้มงวดมาตรฐานความปลอดภัยด้านคุณภาพอากาศตั้งแต่เดือน มิถุนายน 2566 โดยการลดระดับฝุ่นละอองของฝุ่น PM2.5 โดยจำกัดความเข้มข้นเฉลี่ยของอนุภาค PM2.5 จาก50 g/m3 ถึง 37.5 g/m3 ในช่วง 24 ชั่วโมง.
ณ ปัจจุบัน ประชากรเกือบทั้งหมด (99.9) จากทั้งหมด 656.1 ล้านคนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่มีมลพิษฝุ่นละอองเกิอนกว่าแนวทางปฎิบัติขององค์การอนามัยโลก (WHO) ที่ 5 µg/m³. มลพิษในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทำให้ผู้คนเสียชีวิตมากถึง 959.8 ล้านคน/ปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งบางประเทศ เช่น ประเทศไทย ได้รับผลกระทบอย่างมาก.
แม้จะปิดเมืองเนื่องจากการระบาดในปี 2563 แต่มลพิษยังคงเพิ่มสูงขึ้นในหลายบริเวณพื้นที่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นอันตรายต่อชีวิตของผู้อยู่อาศัยจากการประมาณการจาก Air Quality Life Index- AQLI , จากการศึกษาตามแนวทางปฎิบัติของ (WHO) สำหรับมลพิษทางอากาศในประเทศไทยอยู่ในระดับสูงอย่างน่าเป็นห่วงอยู่ในระดับ 23.8 µg/m3,เกินจากเกณฑ์มาตรฐานไป 5 µg/m3.
ระบบกรองอากาศ เช่น เครื่องฟอกอากาศและตัวกรอง HVAC มีบทบาทสำคัญในการลดมลพิษทางอากาศภายในอาคารโดยการลด PM2.5 และสิ่งปนเปื้อนอื่นๆตามมาตรฐานการระบายอากาศ เช่น Eurovant 4/23 และ ISO16890 มีไว้เพื่อเป็นแนวทางสำหรับการกรองอากาศที่มีประสิทธิภาพในอาคารและสถานที่สาธารณะ.
อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับ Eurovent 4/23 and ISO 16890.
Source:
Energy Policy Institute at the University of Chicago (EPIC), "Air Quality Life Index- AQLI", accessed 20 May 2023, <https://aqli.epic.uchicago.edu>